ไฟยังคงส่องสว่าง ที่โรงเรียนประถมอาราฮามะ
ขณะที่มหันตภัยเข้าจู่โจมญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2011 โรงเรียนประถมแห่งหนึ่งในเซนไดไม่ยอมจำนน และกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวังของคนทั้งชาติ
ก้าวสู่เซนไดด้วยหัวใจรำลึก
หลังจากควันหลงของเหตุการณ์แผ่นดินไหวในโทโฮคุในปี 2554 และภัยพิบัติสึนามิที่เกิดขึ้น ชาวเมืองเซนไดได้กลับมาเงยหน้าอ้าปากได้อีกครั้ง และพร้อมที่จะแบ่งปันบทเรียนที่พวกเขาได้เรียนรู้เกี่ยวกับการป้องกันและการเตรียมการเพื่อป้องกันภัยพิบัติแล้ว
นักท่องเที่ยวก็รู้ไว้ไม่เสียหาย! วิธีรับมือหากเกิดภัยพิบัติในญี่ปุ่น
เรียนรู้วิธีรับมือกับภัยพิบัติแผ่นดินไหว และคลื่นยักษ์สึนามิในประเทศญี่ปุ่น ไม่ว่าจะเป็นคนไทยที่อาศัยอยู่ในญี่ปุ่นอยู่แล้ว หรือเป็นนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวญี่ปุ่นก็ตาม เราไปดูกันดีกว่าว่าหากเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินควรทำอย่างไร
ขึ้นรถไฟพร้อมเรียนรู้การป้องกันภัยพิบัติ
หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่ภาคตะวันออกของญี่ปุ่นเมื่อปี 2011 ภูมิภาคโทโฮคุได้รับความเสียหายอย่างหนักจากคลื่นยักษ์สึนามิ อย่างไรก็ตาม เมื่อปี 2014 การรถไฟซันริคุได้เปิดให้บริการเดินรถไฟขบวนสำรอง เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติ
วิธีรับมือแผ่นดินไหวขณะเที่ยวญี่ปุ่น
แนะนำเคล็ดลับในกรณีที่เผชิญกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศญี่ปุ่นในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในอาคาร ในสถานที่ท่องเที่ยว บนรถไฟ หรืออยู่กลางแจ้ง
สู่อิวาเตะยุคใหม่ พร้อมชิมราเมงรสเลิศ
รู้ลึกเรื่องญี่ปุ่น โทโฮคุฝั่งแปซิฟิค
ลิ้มลองราเม็งที่เปี่ยมไปด้วยเอกลักษณ์ของอิวาเตะ พร้อมไปเรียนรู้เรื่องการฟื้นตัวหลังภัยพิบัติ ชาวเมืองจะสร้างเขื่อนกำแพงขึ้นมาเพื่อรับมือกสึนามิ หรือจะใช้ร่องรอยของแผ่นดินไหวเป็นสื่อการเรียนรู้ เราจะไปหาคำตอบกัน
เกิดเหตุแผ่นดินไหวระดับ 7 ที่คุมาโมโตะ
สำนักงานอุตุนิยมวิทยาของญี่ปุ่นออกมารายงานว่า ในเวลา 21.30 น. คืนวันพฤหัสบดีที่ 14 เมษายนตามเวลาในญี่ปุ่น เกิดเหตุแผ่นดินไหวความรุนแรงระดับ 7 ที่เกาะคิวชู